สารบาญตามตัวอักษร A B C D E F G H I J K L M N O P Q R S T U V W X Y Z # MHz
ที่มา
megahertz (เมกกะเฮิร์ทซ) อักษรย่อคือ MHz เป็นหน่วยวัดกระแสไฟฟ้ากระแสสลับ (AC) หรือความถี่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (EM) เท่ากับ 1,000,000 hertz (1 ล้าน เฮิร์ทซ) หน่วยนี้ใช้ในแสดงความเร็วนาฬิกาไมโครโพรเซสเซอร์ และพบในการวัดสัญญาณ bandwidth สำหรับข้อมูลดิจิตอล ความเร็วสูง สัญญาณวิดีโออะนาล๊อก และสัญญาณการกระจายสเปคทรัม
สัญญาณ EM มีความถี่ 1MHz จะใกล้กับศูนย์กลางของมาตรฐานช่วงคลื่นการกระจายเสียงวิทยุ AM (amplitude-modulation) และมีความยาวคลื่น 300 เมตร หรือประมาณ 90 ฟุต สัญญา EM ของ 100 MHz จะใกล้กึ่งกลางของมาตรฐานช่วงคลื่น การกระจายเสียงวิทยุ FM (frequency-modulation) และมีความยาวคลื่น 3 เมตร ซึ่งน้อยกว่า 10 ฟุตเล็กน้อย การส่งผ่านวิทยุได้รับการสร้างความถี่ จนถึงหลายพัน megahertz ตามปกติความเร็วนาฬิการคอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้นคงที่ หน่วยอื่นความถี่อื่น ๆ คือ KHz เท่ากับ 1,000 Hz หรือ 0.001 MHz และ gigahertz เท่ากับ 1,000,000,000 Hz หรือ 1,000 MHz
bandwidth ของสัญญาณดิจิตอลใน megathertz มีความสัมพันธ์ของความเร็วข้อมูลในบิตต่อวินาที โดยทั่วไป ความเร็วข้อมูลมากนั้น จะทำให้ bandwidth มากขึ้น ความเร็วข้อมูลไม่ใช่สิ่งเดียวกับ bandwidth โดยการทำงานของเคเบิลความเร็วสูง หรือโมเด็ม fiberoptic ที่ความเร็ว 5,000,000 bps ที่ความถี่ในนาม 5MHz แต่ bandwidth มักจะน้อยกว่า เพราะขึ้นกับประเภทข้อมูลซึ่งไม่ใช่จำนวนข้อมูลบิตต่อหน่วยเวลา สารสนเทศเพิ่มเติม สารสนเทศเกี่ยวกับความถี่วิทยุ :
SearchWireless.com.
ศัพท์เกี่ยวข้องanalog, bandwidth, bits per second, digital, microprocessor, kHz, spread spectrumupdate: 15 ตุลาคม 2545
|
|