สารบาญตามตัวอักษร A B C D E F G H I J K L M N O P Q R S T U V W X Y Z # storage
ที่มา SearchStorage.com
ในคอมพิวเตอร์ storage (ที่จัดเก็บ) เป็นที่เก็บข้อมูลในรูปแบบแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic) หรือ ใยแก้ว (optical) สำหรับการเข้าถึงโดยโพรเซสเซอร์ โดยทั่วไป มีการใช้สองแบบ
1) storage ได้รับการใช้บ่อยในความหมายอุปกรณ์และข้อมูลเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ผ่านปฏิบัติการ input/output นั่นคือ ระบบฮาร์ดดิสก์และเทป และที่จัดเก็บแบบอื่นที่ไม่รวมหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์และที่จัดเก็บในคอมพิวเตอร์ใหม่ สำหรับระดับองค์ขนาดใหญ่ ตัวเลือกของ storage ประเภทนี้ใหญ่และแพงกว่าหน่วยความจำ ความหมายนี้คือ บางทีปกติในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศมีมากกว่าความหมายตามข้อ 2
2) ในการใช้ทางการมากกว่า storage แบ่งออกเป็น (1) ที่จัดเก็บปฐมภูมิ (primary storage) ซึ่งเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ (บางครั้งเรียกว่า หน่วยความจำชั่วคราว (random access memory หรือ RAM) และอุปกรณ์ ฝังติด (built-in) อื่น เช่น L1 cache ของโพรเซสเซอร์ และ (2) ที่จัดเก็บทุติยภูมิ (secondary storage) ซึ่งเก็บข้อมูลบนฮาร์ดดิสก์ เทป และอุปกรณ์อื่นที่ต้องการปฏิบัติการ input/output
ที่จัดเก็บปฐมภูมิ เข้าถึงได้เร็วกว่าที่จัดเก็บทุติยภูมิ เพราะความอ่อนไหวของที่จัดเก็บต่อโพรเซสเซอร์หรือเพราะธรรมชาติของอุปกรณ์จัดเก็บ ในอีกด้านหนึ่ง ที่จัดเก็บทุติยภูมิสามารถเก็บข้อมูลมากกว่าจัดเก็บปฐมภูมิ
นอกจาก RAM จัดเก็บปฐมภูมิรวมถึง read-only memory (ROM) และหน่วยความจำ L1 and L2 cache นอกจากฮาร์ดดิสก์ ที่จัดเก็บทุติยภูมิรวมถึงประเภทอุปกรณ์และเทคโนโลยี ได้แก่ ดิสเก็ต, Zip drive, ระบบ redundant array of independent disks (RAID) และ holographic storage อุปกรณ์ที่บรรจุที่จัดเก็บรวมกันเรียกว่า storage media
คำศัพท์เก่าของที่จัดเก็บปฐมภูมิ คือ ที่จัดเก็บหลัก (main storage) และคำศัพท์เก่าของที่จัดเก็บทุติยภูมิคือ ที่จัดเก็บเสริม (auxiliary storage) หมายเหตุ ที่เพิ่มความสับสน คือ ความหมายเพิ่มเติมของที่จัดเก็บปฐมภูมิที่จำแนกความแตกต่างด้วยการใช้ที่จะฃัดเก็บจากที่จัดเก็บสำรอง (backup storage) ศัพท์เกี่ยวข้องcache, hard disk, L1 and L2, RAM, ROM, Zip drive, memory, process, RAID, secondary storage, diskette, primary storage, holographic storage, storage media, backup storageupdate: 17 มิถุนายน 2551
|
|