IT A - Z |
IT A - Z |
|
สารบัญตามตัวอักษรA B C D E F G H I J K L M N O P Q R S T U V W X Y Z # |
ที่มา SearchCIO-Midmarket.com impedance ตัวย่อ Z เป็นการแสดงออกของด้านตรงข้ามที่ชิ้นส่วนอิเลคโทรนิคส์ วงจร หรือระบบมีให้กับไฟฟ้ากระแสสลับหรือกระแสตรง impedance เป็นปริมาณเวคเตอร์ (2 มิติ) ประกอบจาก ปรากฎการณ์เชิงปริมาณอิสระ (1 มิติ) 2 ลักษณะคือ ความต้านทาน (resistance ) และรีแอคแทนซ์ (reactance) ที่เป็นความต้านทานของขดลวดต่อกระแสไฟฟ้าสลับ ความต้านทาน ตัวย่อ R เป็นการวัดของการขยายซึ่งสสารต่อต้านการเคลื่อนไหวของอิเลคตรอนในอะตอม อะตอมง่ายในการให้ และ/หรือ ยอมรับอิเลคตรอนง่ายจะมีความต้านทานต่ำ ซึ่งแสดงออกเป็นค่าโอม (ohm) จำนวนจริงบวก ความต้านทาน ได้รับการสังเกตกับไฟฟ้ากระแสสลับ และกับไฟฟ้ากระแสตรง ตัวอย่างของวัสดุที่มีค่าความต้านทานต่ำ รู้จักในฐานะตัวนำไฟฟ้า รวมถึงทองแดง เงิน และทองคำ สสารความต้านทานสูงได้รับการเรียกว่า ฉนวนหรือ dielectric และรวมถึงวัสดุ เช่น โพลีเอทีลีน ไมกา และแก้ว วัสดุที่มีความต้านทานระดับกลางได้รับการแยกเป็นกึ่งตัวนำ ตัวอย่าง คือ ซิลิคอน เยอรมันเนียม และแกลเลียม อาร์เซไนด์ reactance (รีแอคแทนซ์) ตัวย่อ X เป็นการแสดงของการขยาย ซึ่งชิ้นส่วนอิเลคโทรนิคส์ วงจร หรือระบบจัดเก็บและปล่อยพลังเป็นกระแสไฟฟ้าและแรงดันไฟฟ้ากับแต่ละรอบกระแสสลับ reactance เป็นการแสดงออกเป็นค่าโอม (ohm) จำนวนจินตภาพ นี่เป็นการสังเกตไฟฟ้ากระแสสลับ (AC) ไม่ใช่ไฟฟ้ากระแสตรง เมื่อ AC ผ่านอุปกรณ์ที่บรรจุรีแอคแทนซ์ พลังงานอาจจะถูกจัดเก็บและปล่อยในรูปแบบของสนามแม่เหล็ก ในกรณี รีแอคแทนซ์เป็นการเหนี่ยวนำ (ตัวย่อ +jXL) หรือพลลังอาจจะได้รับการจัดเก็บและปล่อยในรูปของสนามไฟฟ้า ในกรณี รีแอคแทนซ์เป็นตัวเก็บประจุ (ตัวย่อ +jXc) รีแอคแทนซ์เป็นการคูณตามแบบแผนโดยรากที่สองบวกของ รูปแบบ R + jXL (เมื่อรีแอคแทนซ์สุทธิเป็นการเหนี่ยวนำ) หรือ R - jXC (เมื่อรีแอคแทนซ์สุทธิเป็นตัวเก็บประจุ) ภาพแสดงพื้นราบพิกัดปรับปรุงกับค่าอิมพีแดนซ์จำนวนเชิงซ้อน ความต้านทานปรากฎบนแกนนอน เคลื่อนย้ายไปทางขวา (ครึ่งซ้ายมือของพื้นราบไม่ได้ใช้ตามปกติ เพราะความต้านทานลบไม่ได้เผชิญในการปฏิบัติปกติ) รีแอคแทนซ์เหนี่ยวนำปรากฎบนแกนจินตภาพบวกและมุ่งหน้าลงไป ตัวอย่าง อิมพีแดนซ์เชิงซ้อนประกอบด้วย 4 โอมของความต้านทาน และ +j5 โอมของรีแอคแทนซ์เหนี่ยวนำเป็นตัวย่อในฐานะเวคเตอร์จากจุดเริ่มต้นไปยังจุดพื้นราบตรงกับ 4 + j5
ในวงจรอนุกรม ความต้านทานและรีแอคแทนซ์ เพิ่มเข้าด้วยกันอย่างอิสระ สมมติว่าความต้านทานของ 100.00 โอมได้รับการเชื่อมต่อในวงจรอนุกรมด้วยตัวเหนี่ยวนำ 10.000 ?H.At 4.0000 MHz ค่าอิมพีแดนซ์เชิงซ้อน คือ ถ้าตัวเก็บประจุของ 0.0010000 ?F ได้รับการวางในตัวเหนี่ยวนำ ผลลัพธ์อิมพีแดนซ์เชิงซ้อน 4.0000 MHz คือ ถ้าชิ้นส่วน 3 ชิ้นทั้งหมดได้รับการเชื่อมต่อเป็นอนุกรม จากนั้นเพิ่มรีแอคแทนซ์ ผลลัพธ์อิมพีแดนซ์เชิงซ้อน คือ นี่เป็นค่าเทียบเท่าของอนุกรมตัวต้านทาน 100 โอมด้วยการเหนี่ยวนำมีค่า +j211.5 โอมของรีแอคแทนซ์ ที่ 4.0000 MHz รีแอคแทนซ์นี้ได้รับการเสนอโดยการเหนี่ยวนำ 8.415 ?H ตามที่หาได้โดยการนำจำนวนนี้เข้าสูตรสำหรับรีแอคแทนซ์ตัวเหนี่ยวนำและทำงานย้อนกลับ (ดูคำนิยามของสูตรนี้ และตรงกับสูตรสำหรับรีแอคแทนซ์ตัวเก็บประจุ) วงจร RLC ขนานมีความซับซ้อนในการวิเคราะห์มากกว่าวงจรอนุกรม ในการคำนวณผลกระทบของรีแอคแทนซ์ตัวเหนี่ยวนำและรีแอคแทนซ์ตัวเก็บประจุในแบบขนาน ปริมาณได้รับการแปลงเป็นซัสเซปแทนซ์เหนี่ยวนำ (inductive susceptance) และซัสเซปชันเก็บประจุ (capacitive susceptance) ซัสเซปแทนซ์ (susceptance) เป็นส่วนกลับของรีแอคแทนซ์ ซัสเซปแทนซ์รวมกับการนำ ซึงเป็นส่วนกลับของตัวต้านทาน ในรูปแอดมิตแทนซ์เชิงซ้อน (complex admittance) ซึ่งเป็นส่วนกลับของอิมพีแดนซ์เชิงซ้อน ปริมาณทั้งหมดได้รับการอุทิศให้กับรูปการในทางทฤษฎีและปฏิบัติของความต้านทาน การนำ รีแอคแทนซ์ ซัสเซปแทนซ์ อิมพีแดนซ์ และแอดมิตแทนซ์ หนังสืออิเลคโทรนิคส์ชั้นกลางหรือหนังสืออ้างอิงสำหรับการศึกษาต่อไป |
||
ศัพท์เกี่ยวข้องAC, complex number, current, gallium arsenide, imaginary number, real number, reactance, resistance, semiconductor, silicon ดูเพิ่มเติม- |
||